[c language #10] คำสั่ง For

คำสั่ง for เป็นคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมทำงานซ้ำตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีตัวอย่างการใช้งานดังนี้ for(ค่าเริ่มต้น; ประโยคเงื่อนไข; การเพิ่มค่าจากค่าเริ่มต้นไปยังค่าสิ้นสุด) { คำสั่ง; } ตัวอย่างโปรแกรมแสดงชื่อ-นามสกุลของตนเองจำนวน 10 ครั้ง #include<stdio.h> #include<stdlib.h> int main() { int i; for(i=1; i<=10; i++) { printf(“Nattapon Buaurai\n”); } system(“pause”); return 0; } ตัวอย่างโปรแกรมแสดงเลขคู่ตั้งแต่ 1 – 20 #include<stdio.h> #include<stdlib.h> int main() { int i; for(i=2; i<=20; i=i+2) { printf(“%d\n”,i); } system(“pause”); return 0; } โจทย์ฝึกสมอง!! รับเลขจำนวนเต็ม 1…

Read More

[c language #9] If-Else

คำสั่ง If-Else เป็นคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่งตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมีตัวอย่างการใช้งาน ดังนี้ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง1; คำสั่ง2; . คำสั่ง n; } โปรแกรมนี้จะทำคำสั่ง 1-n หรือทำคำสั่งใน { } ก็ต่อเมื่อเงื่อนไขหลังคำสั่ง if เป็นจริง หรือ if(เงื่อนไข) { คำสั่ง 1; } else { คำสั่ง 2; } โปรแกรมนี้จะทำคำสั่ง 1 เมื่อเงื่อนไขหลังคำสั่ง if เป็นจริง และจะทำคำสั่ง 2 เมื่อเงื่อนไขหลัง if ไม่เป็นจริง กรณีมีมากกว่า 1 เงื่อนไข if(เงื่อนไข 1) { คำสั่ง 1; } else if(เงื่อนไข 2) {…

Read More

[c language #8] ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบที่นิยมใช้กันมีดังนี้ ==    ตัวดำเนินการเท่ากัน !=    ตัวดำเนินการไม่เท่ากัน >=    ตัวดำเนินการมากกว่าหรือเท่ากับ <=    ตัวดำเนินการน้อยกว่าหรือเท่ากับ >    ตัวดำเนินการมากกว่า <    ตัวดำเนินการน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น หากนักเรียนต้องการเปรียบเทียบว่า 10 และ 20 เท่ากันหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้ 10 == 20       ซึ่งถ้าเท่ากันจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่เท่ากันโปรแกรมจะคืนค่า 0 หรือต้องการเปรียบเทียบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้ 10 >= 20       ซึ่งถ้าจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่จริงโปรแกรมจะคืนค่า 0 ตัวอย่างโปรแกรมเพื่อตรวจสอบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่ #include<stdio.h> #include<stdlib.h> int main() { int x; x…

Read More

[c language #7] ตัวดำเนินการคำนวณ

ตัวดำเนินการคำนวณพื้นฐาน มีดังนี้ +   ตัวดำเนินการ     บวก –   ตัวดำเนินการ     ลบ *   ตัวดำเนินการ     คูณ /   ตัวดำเนินการ     หาร %   ตัวดำเนินการมอดูลัส (Modulus) หรือหารแล้วเอาเฉพาะเศษนั่นเอง ในการทำงานของตัวดำเนินการคอมพิวเตอร์จะมีลำดับการทำงานดังนี้ 1.      ( )           คอมพิวเตอร์จะทำการคำนวณในวงเล็บก่อนเสมอ 2.      *  /  %    จากนั้นจะทำการคูณ หาร มอดูลัส  เรียงจากซ้ายไปขวา เจอเครื่องหมายใดก่อน ทำก่อน 3.      + –          และทำการบวก ลบ เรียงจากซ้ายไปขวา โจทย์ทดสอบความเข้าใจ ลองตอบคำถามต่อไปนี้ดูนะครับ 1. x = 4 + 5 * 3 ตอบ x = ………………. 2. y…

Read More

[c language #6] การรับข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด

ฟังก์ชัน Scanf เป็นฟังก์ชันสำหรับรับข้อมูลจากคียร์บอร์ดเข้าสู่โปรแกรม โดยมีวิธีการใช้งานดังนี้ int number; scanf(“%d”, &number); บรรทัดที่ 1 : เป็นการประกาศตัวแปรชนิดจำนวนเต็มบวก ชื่อ number บรรทัดที่ 2 : รอรับค่าทางคีย์บอร์ด (จะทำงานเมื่อกดปุ่มที่คีย์บอร์ด) โดยจะเก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็มไว้ที่ตัวแปร number (ใช้ %d เพราะตัวแปร number เป็นตัวแปรชนิด int หรือตัวเลขจำนวนเต็ม) ตัวอย่าง char name; scanf(“%c”, &name); บรรทัดที่ 1 : เป็นการประกาศตัวแปรชนิดตัวอักษรหรืออักขระ ชื่อ name บรรทัดที่ 2 : รอรับค่าทางคีย์บอร์ด (จะทำงานเมื่อกดปุ่มที่คีย์บอร์ด) โดยจะเก็บค่าตัวอักษร 1 ตัวไว้ที่ตัวแปร name (ใช้ %c เพราะตัวแปร name เป็นตัวแปรชนิด char หรืออักขระ)…

Read More
Back To Top