[c language #8] ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบที่นิยมใช้กันมีดังนี้

==    ตัวดำเนินการเท่ากัน

!=    ตัวดำเนินการไม่เท่ากัน

>=    ตัวดำเนินการมากกว่าหรือเท่ากับ

<=    ตัวดำเนินการน้อยกว่าหรือเท่ากับ

>    ตัวดำเนินการมากกว่า

<    ตัวดำเนินการน้อยกว่า

ตัวอย่างเช่น หากนักเรียนต้องการเปรียบเทียบว่า 10 และ 20 เท่ากันหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้

10 == 20       ซึ่งถ้าเท่ากันจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่เท่ากันโปรแกรมจะคืนค่า 0

หรือต้องการเปรียบเทียบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้

10 >= 20       ซึ่งถ้าจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่จริงโปรแกรมจะคืนค่า 0

ตัวอย่างโปรแกรมเพื่อตรวจสอบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่

#include<stdio.h>

#include<stdlib.h>

int main()

{

int x;

x = 10>=20;

printf(“%d\n”,x);

system(“pause”);

return 0;

}

ผลลัพธ์

0

          หมายความว่าการเปรียบเทียบ 10 >= 20 เป็นเท็จ หรือ 10 ไม่ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 20 นั่นเอง

Related Posts

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP4: ปีอธิกสุรทิน Leap Year

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP4: ปีอธิกสุรทิน Leap Year

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP3: การเขียนโปรแกรมที่มีการทำงานซ้ำ (Loop)

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP3: การเขียนโปรแกรมที่มีการทำงานซ้ำ (Loop)

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP2 : การเขียนโปรแกรมที่มีการตัดสินใจ(ทางเลือก)If-Else

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP2 : การเขียนโปรแกรมที่มีการตัดสินใจ(ทางเลือก)If-Else

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP1 : ความรู้สำหรับการสอบและไพทอนเบื้องต้น

เตรียมตัวสอบ สอวน คอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าค่าย 1 EP1 : ความรู้สำหรับการสอบและไพทอนเบื้องต้น

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ม.4 สวย ๆ ด้วย Anyflip

เชื่อว่าคุณครูหลายท่านมีเอกสารการสอนสวย ๆ น่ารัก ๆ หรือมีความครบถ้วนทางวิชาการ น่าเรียนอยู่แล้ว หรืออาจะเป็นงานโรงเรียนที่ต้องทำเอกสารประชาสัมพันธ์ วารสาร ใด ๆ ก็ตาม ซึ่งใช้เครื่องมือออกแบบมาอย่างสวยงาม (เช่น canva) อยู่แล้วใช่ไหมครับ … เพียงเราบันทึกเป็นไฟล์ PDF เราก็สามารถเผยแพร่ผลงาน ทำเป็น e-book น่าเปิดน่าใช้ได้ง่าย ๆ ด้วย Anyflip ครับ ใช้งานไม่ยาก…

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการคำนวณ ม.4 (มัดรวม ตชว.ม.4 ม.5 และ ม.6)

แผนกาารจัดการเรียนรู้ (แผนการสอน) วิชาวิทยาการคำนวณ ม.ปลาย แบบมัดรวมตัวชี้วัดตามมาตรฐาน ว 4.2 ม.4-6 มาในวิชาเดียวครับ เพื่อให้สามารถจบหลักสูตรได้ในเทอมเดียว เป็นแผนที่ผมสอนจริงตามนี้ครับ แต่อาจจะสอนไม่ทันในบางเรื่องนะ ก็ใช้วิธีการรวบเนื้อหาเอา … เหตุที่ต้องจัดแบบนี้เพราะหน่วยกิตวิชาพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ของรายวิชาเทคโนโลยีของผมนั้นได้มา 1.5 หน่วยกิต โดยผมแบ่ง 1.0 หน่วยกิตมาเป็นวิชาวิทยาการคำนวณ สอนในระดับ ม.4 ภาคเรียนที่ 1 (2 คาบ/สัปดาห์)…

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.