วิทยาการคำนวณ ม.4 : ทบทวนแนวคิดเชิงคำนวณ
lesson1-1 ทบทวนแนวคิดเชิงคำนวณ โดย ณัฐพล บัวอุไร
lesson1-1 ทบทวนแนวคิดเชิงคำนวณ โดย ณัฐพล บัวอุไร
เป็นอีกบทบาทหนึ่งของสังคมการเมืองไทย ที่มีแกนนำพรรคที่จะร่วมจัดตั้งรัฐบาลมาจัดทำ MOU ร่วมกัน ตกลงกันเพื่อที่จะทำงานให้ประเทศชาติ แน่นอนครับการเช็นต์อะไรลงไปใน MOU นั้นต้องเป็นการผูกมันและให้คำมั่นสัญญาว่าจะทำงานตามที่ระบุไว้ในนั้น และทุกพรรคก็หารือร่วมกันจนได้ร่าง MOU ที่สมบูรณ์
สิ่งที่ต้องบันทึกไว้ในครั้งนี้ เพื่อเป็นเอาไว้เป็นประวัติศาสตร์การเมืองไทย ก็คือรายละเอียด MOU ครับ ซึ่งขออนุญาตนำมาโพสไว้ดังนี้
ร่วมให้กำลังใจตัวแทนศูนย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ในการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระดับชาติ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 22 – 25 พ.ค. 2566 ครับ
ในที่นี้มีนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ที่ผมดูแลอยู่จำนวน 2 คนด้วยกันที่ผ่านเข้าร่วมการแข่งขัน ผลเป็นอย่างไร เดี๋ยวเรามาอัพเดทกันต่อครับ
แต่ตอนนี้ ขอให้ทุกคนทำให้เต็มที่ก็พอครับ เป็นกำลังใจให้สู้ๆ
หากเราผ่านการเลือกตั้งมามากกว่า 3 – 4 ครั้ง เราจะพบว่า เมื่อมีพรรคการเมืองใดเป็นฝ่ายชนะ ก็จะเริ่มหาพรรคพวก ในกรณีที่เสียง สส. ยังไม่เพียงพอ หรือกว่าจะได้รับการรับรอง ก็นานเป็นเดือน แล้วจึงจะเริ่มทำงานตามนโยบายที่หาไว้กันใช่ไหมครับ
แต่ในยุคนี้ (พ.ศ. 2566) การเลือกตั้ง 2566 แปลกไปจากครั้งก่อน ๆ เพราะสื่อสังคมออนไลน์เติมโตมาก นักการเมืองในพรรคที่ได้ สส. เยอะ ก็เป็นคนรุ่นใหม่เป็นส่วนใหญ่ (พรรคก้าวไกล) จึงเริ่มสื่อสารกับประชาชน เริ่มวางแผน และบางส่วนก็เริ่มทำงานกันแล้ว โดยที่ยังไม่ได้รับการรับรองจาก กกต. เลย
การเลือกตั้ง สส. และนายกประเทศไทย ณ เวลานี้ก็รู้ผลคร่าว ๆ เป็นที่แน่นอนแล้วครับ หลังจากที่มีการจัดการเลือกตั้งวันที่ 14 พ.ค. 2566
การเลือกตั้งในทุก ๆ ครั้งก็จะมีสถิติที่รายงานบนหน้าจอทีวีและสื่อออนไลน์ให้เห็นกันปกติ แต่ครั้งนี้หลาย ๆ สำนักทำดีมาก ทำเป็น data visualization ได้เห็นภาพชัดเจนจริงๆ