[c language #8] ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบที่นิยมใช้กันมีดังนี้ ==    ตัวดำเนินการเท่ากัน !=    ตัวดำเนินการไม่เท่ากัน >=    ตัวดำเนินการมากกว่าหรือเท่ากับ <=    ตัวดำเนินการน้อยกว่าหรือเท่ากับ >    ตัวดำเนินการมากกว่า <    ตัวดำเนินการน้อยกว่า ตัวอย่างเช่น หากนักเรียนต้องการเปรียบเทียบว่า 10 และ 20 เท่ากันหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้ 10 == 20       ซึ่งถ้าเท่ากันจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่เท่ากันโปรแกรมจะคืนค่า 0 หรือต้องการเปรียบเทียบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่ จะเขียนได้ดังนี้ 10 >= 20       ซึ่งถ้าจริง โปรแกรมจะคืนค่า 1 แต่ถ้าไม่จริงโปรแกรมจะคืนค่า 0 ตัวอย่างโปรแกรมเพื่อตรวจสอบว่า 10 มากกว่าหรือเท่ากับ 20 จริงหรือไม่ #include<stdio.h> #include<stdlib.h> int main() { int x; x…

Read More

[c language #7] ตัวดำเนินการคำนวณ

ตัวดำเนินการคำนวณพื้นฐาน มีดังนี้ +   ตัวดำเนินการ     บวก –   ตัวดำเนินการ     ลบ *   ตัวดำเนินการ     คูณ /   ตัวดำเนินการ     หาร %   ตัวดำเนินการมอดูลัส (Modulus) หรือหารแล้วเอาเฉพาะเศษนั่นเอง ในการทำงานของตัวดำเนินการคอมพิวเตอร์จะมีลำดับการทำงานดังนี้ 1.      ( )           คอมพิวเตอร์จะทำการคำนวณในวงเล็บก่อนเสมอ 2.      *  /  %    จากนั้นจะทำการคูณ หาร มอดูลัส  เรียงจากซ้ายไปขวา เจอเครื่องหมายใดก่อน ทำก่อน 3.      + –          และทำการบวก ลบ เรียงจากซ้ายไปขวา โจทย์ทดสอบความเข้าใจ ลองตอบคำถามต่อไปนี้ดูนะครับ 1. x = 4 + 5 * 3 ตอบ x = ………………. 2. y…

Read More

[c language #6] การรับข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด

ฟังก์ชัน Scanf เป็นฟังก์ชันสำหรับรับข้อมูลจากคียร์บอร์ดเข้าสู่โปรแกรม โดยมีวิธีการใช้งานดังนี้ int number; scanf(“%d”, &number); บรรทัดที่ 1 : เป็นการประกาศตัวแปรชนิดจำนวนเต็มบวก ชื่อ number บรรทัดที่ 2 : รอรับค่าทางคีย์บอร์ด (จะทำงานเมื่อกดปุ่มที่คีย์บอร์ด) โดยจะเก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็มไว้ที่ตัวแปร number (ใช้ %d เพราะตัวแปร number เป็นตัวแปรชนิด int หรือตัวเลขจำนวนเต็ม) ตัวอย่าง char name; scanf(“%c”, &name); บรรทัดที่ 1 : เป็นการประกาศตัวแปรชนิดตัวอักษรหรืออักขระ ชื่อ name บรรทัดที่ 2 : รอรับค่าทางคีย์บอร์ด (จะทำงานเมื่อกดปุ่มที่คีย์บอร์ด) โดยจะเก็บค่าตัวอักษร 1 ตัวไว้ที่ตัวแปร name (ใช้ %c เพราะตัวแปร name เป็นตัวแปรชนิด char หรืออักขระ)…

Read More

[c language #5] ตัวแปรและ Text Formatting

ตัวแปร (variable) คือสิ่งที่จะช่วยเราจำค่าต่างๆ ไว้แสดงค่าหรือคำนวณภายหลัง โดยตัวแปรเหล่านี้จะเก็บค่าเอาไว้ในหน่วยความจำ (Memory) ของคอมพิวเตอร์นั่นเอง การประกาศตัวแปร (Declarations) ก่อนที่เราจะนำตัวแปรมาใช้ได้ เราต้องประกาศตัวแปรเสียก่อน โดยมีรูปแบบดังนี้ int number; char letter; ชนิดของตัวแปร Type name                                   meaning                                    …

Read More

[c language #4] Escape Character และ Comment

Escape Character ในการเขียนโปรแกรมให้มีการแสดงผลเครื่องหมายพิเศษต่างๆ เช่น เครื่องหมายคำพูด ” หรือเครื่องหมาย \  เราจะเขียนโปรแกรมอย่างไร เพราะเครื่องหมายคำพูดถูกใช้อยู่ในฟังก์ชัน printf() อยู่แล้ว เพราะเป็นเครื่องหมายแสดงถึงขอบเขตเริ่มต้นและสิ้นสุดของข้อความ (สายอักขระหรือ string) แล้วหากเราต้องการแสดงเครื่องหมายเหล่านี้ออกจากหน้าจอจะทำอย่างไรดีล่ะ? วิธีการนั้นง่ายๆ แค่เอาเครื่องหมาย \ ซึ่งเรียกว่า อักขระหลีก (Escape character) ไปวางไว้หน้าอักขระเหล่านั้น มีผลให้อักขระที่ตามหลังเครื่องหมาย \ หนึ่งตัว มีความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น  \n จากเดิม n ซึ่งเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวหนึ่งเมื่อเติมเครื่อง \ ไว้ข้างหน้า ก็จะกลายเป็น อักขระขึ้นบรรทัดใหม่ (New line character) ทันที ดังตัวอย่างต่อไปนี้ครับ \t   จะแสดงผล เว้นระยะ 1 แท็บ \0  จะแสดงผล อักขระ NULL (ว่างเปล่า) \’   จะแสดงผล อักขระ ‘ \”   จะแสดงผล อักขระ ” \\…

Read More
Back To Top