เอกสาร python มัธยม: ตอนที่ 4 คำสั่งแสดงผล – รับค่า และโปรแกรมคำนวณอย่างง่าย

เอกสารประกอบการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 4 คำสั่งแสดงผล – รับค่า และโปรแกรมคำนวณอย่างง่าย หลังจากที่นักเรียนเข้าใจโครงสร้างพื้นฐานของภาษาไพทอนด้วยการเขียนโปรแกรมโดยใช้โมดูล turtle ไปแล้ว ลำดับต่อไปนี้จะเป็นการเริ่มต้นเข้าใจโครงสร้างคำสั่งพื้นฐานที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ การแสดงผลข้อมูล การรับค่าข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ด และการเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผลอย่างง่ายครับ

เอกสาร python มัธยม: ตอนที่ 3 เต่าสร้างโลก

เอกสารประกอบการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 3 เต่าสร้างโลก เอกสารนี้เป็นการให้นักเรียนได้ลองสร้างโลกตามจินตนการของตนเองด้วย python turtle ครับ หลังจากที่เรียนรู้การวาด การใช้สี การใช้ loop และฟังก์ชันมาแล้ว กิจกรรมนี้จะได้นำความรู้ทั้งหมดมาสร้างเป็นโลกของตนเอง

เอกสาร python มัธยม: ตอนที่ 2 โปรแกรมย่อยของหุ่นยนต์เต่า

เอกสารประกอบการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 โปรแกรมย่อยของหุ่นยนต์เต่า ในเอกสารนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันครับ

เอกสาร python มัธยม: ตอนที่ 1 รู้จักหุ่นยนต์เต่า

เอกสารประกอบการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 1 รู้จักหุ่นยนต์เต่า

python วันละข้อ || พีทากอรัส (เรียนรู้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์)

วันนี้เรามารู้จักฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ในภาษาไพทอน และการประยุกต์ใช้กันครับ ด้วยการเขียนโปรแกรมง่าย ๆ โปรแกรมพีทากอรัสนั่นเอง มาลองกันเลย   https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/0qhbp4cz5o/

python วันละข้อ || โปรแกรมคำนวณอย่างง่าย (พื้นที่สามเหลี่ยม)

หลังจากที่เราเขียนโปรแกรมแสดงผล และรับค่าจากคีย์บอร์ดได้แล้ว เรามาลองเขียนโปรแกรมคำนวณอย่างง่ายดูครับ ตามลิงค์นี้เลย https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/48cjfb2u19/

python วันละข้อ || คำสั่งรับค่า input()

วันนี้เรามาเรียนรู้วิธีการรับค่าข้อมูลจากคีย์บอร์ดในภาษาไพทอนเข้าไปเก็บในตัวแปรกันครับ ตามลิงก์นี้เลย https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/74em5shqvf/

python วันละข้อ || คำสั่ง print()

เรามาเริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนกันดีกว่าครับ หรือสำหรับคนที่เคยเขียน เขียนเป็นอยู่แล้ว เรามาลองทำโจทย์วันละข้อ ไปเรื่อย ๆ กันครับ   สำหรับโจทย์แรกวันนี้คือการเรียนรู้คำสั่งแสดงผลหรือคำสั่ง Print นั่นเอง   มาลุยกันเลย ตามลิงค์นี้ครับ https://elabsheet.org/elab/taskpads/show/fyzvuur3p3/

เขียนไพทอนรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดเข้าไปเก็บในตัวแปร

คลิปนี้แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาเบื้องต้น ในเรื่องของการรับค่าข้อมูลจากคีย์บอร์ดเข้าไปเก็บที่ตัวแปรครับ ซึ่งจะขอแนะนำไว้ 3 รูปแบบเบื้องต้น ได้แก่ การรับค่าอักขระหรือข้อความ การรับค่าตัวเลขจำนวนเต็ม และการรับค่าตัวเลขทศนิยม

เขียนไพทอนแสดงผลง่าย ๆ ด้วยคำสั่ง print

แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องต้น ในคลิปนี้จะเป็นเรื่องการใช้คำสั่งแสดงผล (คำสั่ง print) และรู้จักตัวแปรสำหรับเก็บข้อมูล